พื้นที่สร้างสรรค์และกิจกรรม

การประชุมเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านกลุ่มชาติพันธ์ ครั้งที่ 1 (UNESCO Creative Cities Network) UCCN Symposium for Tribal Crafts and Flok Art ครั้งที่ 1

ประชาสัมพันธ์การขับเคลื่อนจังหวัดน่านสู่การเป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์

อพท.๖ นำเสนอแนวทางการขับเคลื่อนเมืองน่านสู่การเป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก (UCCN) ให้หัวหน้าส่วนราชการจังหวัดน่าน

สำนักงานพื้นที่พิเศษ ๖ เข้าร่วมงานจัดแถลงข่าว เทศกาลน่าน หรือ NAN FEST ดึงคนรุ่นใหม่ พลิกฟื้นพื้นที่สร้างสรรค์ ย่านเมืองเก่า จังหวัดน่าน

อพท.6 เข้าร่วมกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการการเสวนากลุ่มร่วมกับชุมชนหัตถกรรมจักสานในจังหวัดน่านและมหาวิทยาลัยศิลปากรในการยกระดับหัตถกรรมจักสาน ณ น่านบูติครีสอร์ท จ.น่าน

อพท.6 จัดกิจกรรมเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ย่านสร้างสรรค์ชุมชนหัวเวียงใต้ ตรอกศิลปะและงานหัตถกรรมท้องถิ่นน่าน "กาดกองน้อย"

ล้านนา หรือดินแดนทางภาคเหนือของประเทศไทยในปัจจุบัน มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน มีวัฒนธรรมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ ทั้งการแต่งกาย อาหารการกิน รวมทั้งภาษาพูด และภาษาเขียน 

อพท. โดยสำนักงานพื้นทที่พิเศษ 6 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์และบริการเชิงสร้างสรรค์แก่ปราชญ์ ศิลปิน และครูภูมิปัญญา "ด้านผ้าเมืองน่าน" เพื่อสร้างสรรค์เส้นทางท่องเที่ยว

สำนักงานพื้นที่พิเศษ 6 องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. ร่วมกับวิทยาลัยชุมชนน่าน พัฒนาหลักสูตรระยะสั้น "การท่องเที่ยวเชิงเกษตรวิถีน่าน" นำการท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือและเชื่อมโยงกับวิถีเกษตรกรรมที่มีความโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์ความเป็นเมืองน่าน

อพท. สำนักงานพื้นที่พิเศษ 6 จัดการประชุมวิชาการนานาชาติด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน จังหวัดน่าน (NAN Crafts and Folk Art Forum 2022) ผลักดันน่านร่วมเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโกให้เป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติ

อพท.6 จัดประชุมคณะจัดทำใบสมัครเมืองสร้างสรรค์จังหวัดน่าน ครั้งที่ 2/ 2565 เดินหน้าเตรียมใบสมัครเมืองสร้างสรรค์ของ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน รอบการเปิดรับสมัคร ปี พ.ศ.2566

ด้วยต้นทุนทางศิลปวัฒนธรรม อีกทั้งหลายชุมชนในจังหวัดน่าน ยังคงช่วยกันรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณีที่มีมาอย่างยาวนาน สะท้อนผ่านวิถีชีวิตผู้คน และถ่ายทอดผ่านงานศิลปะเชิงช่าง หัตถกรรมพื้นบ้าน ที่ส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่น เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่เก่าแก่ เป็นอัตลักษณ์เสริมศักยภาพของเมืองน่าน ทำให้จังหวัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัดน่าน พยายามผลักดันให้จังหวัดน่าน เข้าร่วมการเป็นเครือข่ายสมาชิกของยูเนสโก

ไปสัมผัสเสน่ห์วิถีชีวิตชุมชนที่ทุกคนร่วมใจกันพัฒนาเมืองด้วยการท่องเที่ยว ด้วยการนำศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้นักท่องเที่ยวได้มาสัมผัสกับบริการและกิจกรรมสร้างสรรค์ ร่วมสร้างประสบการณ์แบบใหม่

สวยดอกไม้ คือการทำกรวยดอกไม้ที่ใช้ใบตองม้วนขดเป็นทรงกรวยเรียวแหลม บรรจุดอกไม้ ธูป เทียน เพื่อใช้เป็นเครื่องสักการะบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ตนเองเคารพเลื่อมใส

การเขียนตั๋วเมือง หรือการเขียนอักษรล้านนาโบราณ ในอดีตจะเขียนลงใบลาน ประกอบพิธีทางศาสนาเท่านั้น ถือได้ว่าเป็นสิ่งที่มงคล ปัจจุบันจึงได้นำกลับมาฟื้นฟู และอนุรักษ์ด้วยการถ่ายทอดสู่ลูกหลาน และยังได้นำมาเป็นกิจกรรมการท่องเที่ยว สามารถให้นักท่องเที่ยวได้รู้จัก และเรียนรู้ตัวอักษรล้านโบราณ

การท่องเที่ยวเชิงอาหาร หรือ “Gastronomy Tourism” กำลังเป็นการท่องเที่ยวทางเลือกที่อยู่ในกระแส และหากเราเชื่อมโยงระหว่างการท่องเที่ยว กับอาหารแล้ว อาหารถือเป็นเครื่องมือหนึ่งที่สำคัญในการนำเสนอ อัตลักษณ์ และวัฒนธรรมท้องถิ่น เนื่องจากเป็นการท่องเที่ยวที่ผสมผสานธรรมชาติ วัฒนธรรม การบริการ การเข้าถึงทรัพยากรท่องเที่ยว และสามารถถ่ายทอดเสน่ห์อัตลักษ์ของตัวเอง มารวมเป็นประสบการณ์ ให้กับนักท่องเที่ยว

น่าน เดินหน้าขับเคลื่อนเมืองน่านสู่การเป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก

การท่องเที่ยว ในการอนุรักษ์ วัฒนธรรม ภูมิปัญญา ของจังหวัดน่าน โดยผ่านกิจกรรม พื้นที่สร้างสรรค์ (Creative Space)

อพท.6 ดึงมือโปรปั้นย่านสร้างสรรค์ระดับประเทศ ติวเข้มเครือข่ายสอนปั้น "หัวเวียงใต้" เป็นย่านสร้างสรรค์เมืองน่าน

อพท.6 ร่วมกับ เครือข่ายเยาวชน จัดกิจกรรมสร้างสรรค์ในพื้นที่จังหวัดน่านที่ทำให้เกิดความเคลื่อนไหวภายในเมือง

น่าน - อพท.น่าน  เปิดเวทีเผยแพร่ข้อมูลและรับฟังความคิดเห็นต่อการพัฒนาพื้นที่พิเศษเมืองเก่าน่าน ระดมภาคีเครือข่ายร่วมคิดและขับเคลื่อน

"กาดกำแพงเมืองเก่าน่าน" สร้างบรรยากาศเมืองวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เตรียมความพร้อมเข้าประเมินการเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของ UNESCO

เข้าร่วมกิจกรรมการงาน "Chiang Mai Creative Cities Network Forum 2021" วันที่ 8 - 10 เมษายน 2564 ณ ห้องประชุมนิมมาน คอนเวนชั่น เซนเตอร์ จ.เชียงใหม่

ผ้าตาโก้ง ผ้าที่ถูกส่งต่อผ่านรุ่นสู่รุ่นด้วยลวดลายในเนื้อผ้าสะท้อนผ่านวิถีชีวิตชุมชนเพราะทุกครั้งที่ชาวนาซาวทอผ้าตาโก้งจะมีความรู้สึกว่าปู่ย่าตายาย

โคมมะเต้า (โคมหม่าเต้า) มรดกทางวัฒนธรรมของชาวน่าน ทำขึ้นเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาและเสริมสิริมงคล ปัจจุบันได้นำโคมมาใช้หลายอย่าง

เครื่องปั้นดินเผา เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ที่มีความสัมพันธ์ เกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตชาวล้านนามาอย่างแนบแน่นเป็นเวลา

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้