การประชุมเตรียมการเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2566 ณ ห้องประชุม เจ้าอนันตวรฤทธิเดช ชั้น 3 ศาลากลางจังหวัดน่าน เพื่อนำเสนอข้อมูลที่สำคัญต่อคณะกรรมการคัดเลือกเมืองต่างๆ เพื่อเข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์อันทรงเกียรติของ UNESCO ในปี 2566
การใช้ประโยชน์จากต้นไม้ประจำจังหวัด โดยการนำมาให้สีแก่ผ้าทอเมืองน่าน นอกจากจะเห็นความงดงามของสีธรรมชาติแล้ว
นายวิบูรณ์ แววบัณฑิต ผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน นำคณะภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องเข้าพบปะเพื่อหารือกับนายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เพื่อหารือศึกษาแนวทางการพัฒนาพื้นที่สู่การเป็น สมาชิกเครือข่ายสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก
นายวิบูรณ์ แววบัณฑิต ผู้ว่าราชการจังหวัดน่านนำคณะทำงานขับเคลื่อนจังหวัดน่านสู่การเป็นสมาชิกเครือข่ายองค์การยูเนสโก พบปะหารือ นางวันเพ็ญ มังศรี รองผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี และคณะ ณ โรงแรม Royal Diamond อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี
หอศิลป์ริมน่าน (Nan Riverside Arts Space) เป็นสถานที่จัดแสดงงานศิลปะและวัฒนธรรมที่ตั้งอยู่ในจังหวัดน่าน มีการออกแบบสถาปัตยกรรมที่ได้รับแรงบันดาลใจจากท้องถิ่นและเป็นสถานที่สำหรับศิลปะแขนงต่างๆ
“เสื้อ BCG กุญแจสู่ความยั่งยืน” ผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน (นายวิบูรณ์ แววบัณฑิต) สวมใส่ในพิธีเปิดงาน “กิจกรรมเชื่อมโยงและทดสอบตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องเงินและผ้าทอน่าน สู่นวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์” (Inno - Creative Design Showcase) เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2566 ณ ถนนผากอง จังหวัดน่าน ซึ่งจัดโดยจังหวัดน่านและสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดน่าน
เมืองน่านปรากฏงานหัตถศิลป์ที่สำคัญคือการผลิตเครื่องปั้นดินเผาที่ “บ้านเตาไหแช่เลียง” ในบริเวณปัจจุบันเป็นแหล่งโบราณคดีที่ชื่อว่าแหล่งเตาบ่อสวก โดย “บ้านเตาไหแช่เลียง” ปรากฏในเอกสารพื้นเมืองน่านหลายฉบับ เช่น ฉบับวัดพระเกิด
รับสมัคร "สล่าศิลป์" และผู้ที่สนใจ เข้าร่วมกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อต่อยอดการออกแบบงานปูนปั้นพุทธศิลป์สร้างสรรค์ สู่การออกแบบผลิตภัณฑ์
จังหวัดน่าน ซึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย มีลักษณะเฉพาะหลายประการที่ทำให้จังหวัดน่านมีศักยภาพในการเข้าร่วมเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์
เมืองสร้างสรรค์หมายถึงแนวคิดที่เน้นบทบาทของความคิดสร้างสรรค์และวัฒนธรรมในการพัฒนาเมือง เป็นเมืองที่หล่อเลี้ยงและสนับสนุนอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมทางวัฒนธรรม และการแสดงออกทางศิลปะอย่างจริงจัง
ศูนย์พุทธศิลป์วัดแสงดาว ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอภูเพียง ฝั่งทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองน่าน
DNYC เป็นกลุ่มนักเรียนระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนต่างๆ ในจังหวัดน่านที่มารวมตัวกันทำกิจกรรมส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ตามทักษะความสามารถตามความถนัดของแต่ละคน แล้วนำเสนอเรื่องราวของเมืองน่านผ่าน Social Media
Doi Silver Museum พิพิธภัณฑ์เครื่องเงินชาวเขาในหุบเขาเมืองปัว เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมชาวเขาผ่านเครื่องประดับเงินที่ชาวเขาเผ่าเย้าใช้ในชีวิตประจำวันที่พิพิธภัณฑ์เล็กๆ ในจังหวัดน่าน
ผ้าปักเมี่ยนเป็นศิลปะสิ่งทอแบบดั้งเดิมที่ได้รับการยกย่องอย่างสูงในประเทศไทยในด้านความสวยงามและงานฝีมือ
เครื่องเงินเมี่ยนมักทำจากเงินคุณภาพสูงและมีลวดลายและการออกแบบที่ละเอียดอ่อน มักผสมผสานองค์ประกอบจากธรรมชาติ
ในอดีตที่มนุษย์ดำรงอยู่ได้ด้วยการเพาะปลูก คนเราเมื่ออยู่ที่ไหนก็จะผูกพันกับสายน้ำของที่นั่น เช่นเดียวกับคนน่านที่ยังผูกพันกับลำน้ำน่านอย่างเหนียวแน่น ในฐานะที่มันเป็นเส้นเลือดหล่อเลี้ยงเมืองทั้งเมือง
'การทอผ้า' ภูมิปัญญาท้องถิ่นงานอดิเรกยามว่างจากการเกษตรของชาวบ้านซาวหลวง ตำบลบ่อสวก
แม่น้ำน่านเป็นแม่น้ำในประเทศไทยที่ไหลผ่านภาคเหนือของประเทศ เป็นสาขาของแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งเป็นแม่น้ำสายสำคัญสายหนึ่งของประเทศไทย
The Long Boat Race Festival in Nan Province, Thailand is a celebration that takes place annually in the province of Nan, located in northern Thailand.
สำหรับ "ปีกระต่าย" หมายถึงปีในปฏิทินจันทรคติจีนซึ่งเกี่ยวข้องกับราศี กระต่าย ปีนี้เชื่อกันว่าเป็นช่วงเวลาแห่งความสงบ ความเงียบสงบ และความคิดสร้างสรรค์ เนื่องจากกระต่ายเกี่ยวข้องกับคุณสมบัติเหล่านี้ ปฏิทินจันทรคติของจีนมีรอบ 12 ปี โดยแต่ละปีจะมีสัญลักษณ์รูปสัตว์แทน "ปีเถาะ" จะเกิดขึ้นทุกๆ 12 ปีโดยประมาณ
อพท. สำนักงานพื้นที่พิเศษ 6 มหาวิทยาลัยนเรศวร สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (สสปน.) องค์การบริหารส่วนจังหวัดน่านและภาคีเครือข่าย
จังหวัดน่าน เชิญเที่ยวงานมหกรรมวัฒนธรรมอิ้วเมี่ยนโลก ครั้งที่ 5 ระหว่างวันที่ 3-5 กุมภาพันธ์ 2566 ณ ลานสนามหญ้า ศูนย์ท่องเที่ยว สำนักงานเทศบาลเมืองน่าน
การพัฒนาเมืองสร้างสรรค์คือการสนับสนุนและส่งเสริมธุรกิจในท้องถิ่น โดยเฉพาะธุรกิจที่มีความคิดสร้างสรรค์หรือมีนวัตกรรม
อาจารย์แคะเว่น ศรีสมบัติ ซึ่งเป็นเจ้าของภูลังการีสอร์ท เครือข่ายผู้รู้ภูมิปัญญาชาติพันธุ์อิ้วเมี่ยนแห่งประเทศไทย เป็นผู้รับหนังสือเดินทางสืบต่อมาจากบรรพบุรุษ อาจารย์เป็นลูกหลานของผู้นำเผ่ารุ่นที่ ๕
บทบาทของผู้นำชุมชนในการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์, The role of community leaders in creative city development
เมืองสร้างสรรค์สำหรับเยาวชนคือเมืองที่ให้คุณค่า สนับสนุน และส่งเสริมพลเมืองรุ่นใหม่ให้มีความกระตือรือร้น สร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมกับสมาชิกในชุมชน
ซอ เป็นการเล่นเพลงพื้นบ้านของล้านนา คำว่า “ซอ” ในที่นี้เป็นภาษาคำเมือง ภาษาถิ่นเหนือ มีความหมายว่า ขับร้อง ร้องเพลง การ “ซอ” เป็นภูมิปัญญาทางภาษา
การสร้างชุมชนสร้างสรรค์ มีขั้นตอนสำคัญหลายประการ Building a creative community involves several key steps,
เมืองต่างๆ ได้รับการเสนอชื่อโดยรัฐบาลแห่งชาติ จากนั้นจึงประเมินโดยคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญของ UNESCO เพื่อดูว่ามีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์หรือไม่