บทความทั้งหมด

เปิดประสบการณ์ ผ่านกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรรค์เรียนรู้การเขียนอักษรล้านนา หรือ ตั๋วเมือง บ้านเลขที่ ๙

การท่องเที่ยว ในการอนุรักษ์ วัฒนธรรม ภูมิปัญญา ของจังหวัดน่าน โดยผ่านกิจกรรม พื้นที่สร้างสรรค์ (Creative Space)

อพท.6 ดึงมือโปรปั้นย่านสร้างสรรค์ระดับประเทศ ติวเข้มเครือข่ายสอนปั้น "หัวเวียงใต้" เป็นย่านสร้างสรรค์เมืองน่าน

อพท.6 ร่วมกับ เครือข่ายเยาวชน จัดกิจกรรมสร้างสรรค์ในพื้นที่จังหวัดน่านที่ทำให้เกิดความเคลื่อนไหวภายในเมือง

ลงรักปิดทอง หรือลายคำงานปิดทองคำเปลวประดับอาคารพุทธศาสนสถาน ประกอบด้วย ภาพอดีตพระพุทธเจ้า ลายพันธุ์พฤกษา เทวดา และลายสัตว์หิมพานต์

น่าน - อพท.น่าน  เปิดเวทีเผยแพร่ข้อมูลและรับฟังความคิดเห็นต่อการพัฒนาพื้นที่พิเศษเมืองเก่าน่าน ระดมภาคีเครือข่ายร่วมคิดและขับเคลื่อน

"กาดกำแพงเมืองเก่าน่าน" สร้างบรรยากาศเมืองวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เตรียมความพร้อมเข้าประเมินการเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของ UNESCO

เข้าร่วมกิจกรรมการงาน "Chiang Mai Creative Cities Network Forum 2021" วันที่ 8 - 10 เมษายน 2564 ณ ห้องประชุมนิมมาน คอนเวนชั่น เซนเตอร์ จ.เชียงใหม่

ฟ้อนล่องน่าน เป็นเอกลักษณ์ของเมืองน่านที่ถือกำเนิดมาจากการล่องแม่น้ำน่านในยุคการเดินทางจากวรนคร (เมืองปัว) สู่ภูเพียงแช่แห้ง

แข่งเรือเมืองน่าน เป็นประเพณีเก่าแก่สืบเนื่องมาแต่โบราณ ซึ่งหมู่บ้านใดวดัใดจัดให้มีการตานก๋วยสลากก็ให้มีการเชื้อเชิญหมู่บ้าน และวัดใกล้เคียงให้นำเรือมาแข่งกันเพื่อความสนุกสาน

“เมืองน่าน” เดิมเป็นนครรัฐเล็กๆ ที่มีอายะการก่อร่างสร้างเมืองมายาวนานกว่า 700 ปี มีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ปรากฏอยู่เป็นจำนวนมาก

ลายเครือดอก (ลายพันธุ์พฤกษา) เป็นลวดลายประดับตกแต่งมักพบเป็นลวดลายประเภทดอกดวงต่างๆ

งานปูนปั้นลวดลายประดับซุ้มประตูวิหารวัดพระธาตุแช่แห้ง พระอารามหลวง มีลักษณะเฉพาะตัวของการออกแบบงานปูนปั้นประดับซุ้มประตูโดยการนำรูปแบบที่โดดเด่น

เครื่องเงินเมืองน่าน: นอกจากเงินเมืองน่านที่ใช้เป็นเงินตราในการแลกเปลี่ยน เช่น เงินนาน หรือ เงินเจียง เงินราง และเงินท็อกเมืองน่าน ฯลฯ

กระดาษ และฉลุงานกระดาษในจังหวัดน่าน เป็นงานหัตถกรรมที่นำมาใช้สำหรับงานประเพณี พิธีกรรมตามความเชื่อของแต่ละพื้นที่

เมืองน่านมีกิจกรรมแข่งเรือเพื่อเชื่อมความสามัคคีระหว่างหมู่บ้าน ในอดีตทำขึ้นเพื่อบวงสรวงขอฟ้าฝน จากนั้นจึงยึดถือเป็นประเพณีปฏิบัติกันมาอีกหลายร้อยปี

ด้วยภูมิประเทศที่เป็นภูเขามีลำห้วยต้ามไหลผ่าน บ้านต้ามจึงอุดมด้วยป่าไม้ไผ่ เกิดเป็นมรดกภูมิปัญญาจักสานที่ส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่น

สมัยก่อนเมืองน่านเป็นเมืองที่มีอาณาเขตกว้างขวาง ประชากรของเมืองน่านประกอบด้วย คนเมือง หรือ ไทยวน เป็นหมู่ชนที่ถูกเรียกว่า ลาวพุงดำ

โรงทอผ้าลายบ่อสวก ณ บ้านซาวหลวง เรียนรู้การทอวิถีสานวัฒนธรรมลายผ้าอันมีเอกลักษณ์ของชุมชนบ่อสวก เป็นลายผ้าที่แกะมาจากลายปั้นแปะ

ผ้าตาโก้ง ผ้าที่ถูกส่งต่อผ่านรุ่นสู่รุ่นด้วยลวดลายในเนื้อผ้าสะท้อนผ่านวิถีชีวิตชุมชนเพราะทุกครั้งที่ชาวนาซาวทอผ้าตาโก้งจะมีความรู้สึกว่าปู่ย่าตายาย

โคมมะเต้า (โคมหม่าเต้า) มรดกทางวัฒนธรรมของชาวน่าน ทำขึ้นเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาและเสริมสิริมงคล ปัจจุบันได้นำโคมมาใช้หลายอย่าง

เครื่องปั้นดินเผา เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ที่มีความสัมพันธ์ เกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตชาวล้านนามาอย่างแนบแน่นเป็นเวลา

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้