งานปูนปั้นลวดลายประดับซุ้มประตูวิหารวัดพระธาตุแช่แห้ง พระอารามหลวง มีลักษณะเฉพาะตัวของการออกแบบงานปูนปั้นประดับซุ้มประตูโดยการนำรูปแบบที่โดดเด่น
ปูนปั้นประดับหลังคาวิหารแบบศิลปะไทลื้อที่มักจะยึดถือแบบแผนที่เคร่งครัดอยู่เสมอ กล่าวคือได้มีการประดับในส่วนของจั่วหลังคาวิหารด้วยงานประติมากรรม
เครื่องเงินเมืองน่าน: นอกจากเงินเมืองน่านที่ใช้เป็นเงินตราในการแลกเปลี่ยน เช่น เงินนาน หรือ เงินเจียง เงินราง และเงินท็อกเมืองน่าน ฯลฯ
กระดาษ และฉลุงานกระดาษในจังหวัดน่าน เป็นงานหัตถกรรมที่นำมาใช้สำหรับงานประเพณี พิธีกรรมตามความเชื่อของแต่ละพื้นที่
ด้วยภูมิประเทศที่เป็นภูเขามีลำห้วยต้ามไหลผ่าน บ้านต้ามจึงอุดมด้วยป่าไม้ไผ่ เกิดเป็นมรดกภูมิปัญญาจักสานที่ส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่น
โรงทอผ้าลายบ่อสวก ณ บ้านซาวหลวง เรียนรู้การทอวิถีสานวัฒนธรรมลายผ้าอันมีเอกลักษณ์ของชุมชนบ่อสวก เป็นลายผ้าที่แกะมาจากลายปั้นแปะ
ผ้าตาโก้ง ผ้าที่ถูกส่งต่อผ่านรุ่นสู่รุ่นด้วยลวดลายในเนื้อผ้าสะท้อนผ่านวิถีชีวิตชุมชนเพราะทุกครั้งที่ชาวนาซาวทอผ้าตาโก้งจะมีความรู้สึกว่าปู่ย่าตายาย
โคมมะเต้า (โคมหม่าเต้า) มรดกทางวัฒนธรรมของชาวน่าน ทำขึ้นเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาและเสริมสิริมงคล ปัจจุบันได้นำโคมมาใช้หลายอย่าง
เครื่องปั้นดินเผา เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ที่มีความสัมพันธ์ เกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตชาวล้านนามาอย่างแนบแน่นเป็นเวลา